น้ำตาล-พลังในร่างกาย
ตั้งแต่คลอดออกจากครรภ์มารดา ในการดำรงของชีวิตของมนุษย์เราจะขาดน้ำตาลไม่ได้ แม้อาหารที่จำเป็นของทารกก็คือ น้ำนมก็มีน้ำตาลผสมอยู่
อาหารพวกคาร์โบไฮเดรต เช่น ข้าว ขนมปัง ก็ประกอบด้วยน้ำตาลพวก (monosac charide) นอกจากนี้ในผลไม้ ผัก ก็มีน้ำตาล น้ำตาลเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับชีวิต การทำงานของอวัยวะภายในและเนื้อเยื่อของร่างกายต่างๆ ก็ล้วนต้องใช้พลังงานจากน้ำตาล นอกจากนี้ การหายใจ การไหลเวียน การขับปัสสาวะ การย่อยอาหารล้วนแล้วแต่ต้องการความร้อนจากน้ำตาลทั้งสิ้น
สรุปแล้วพลังงานในการเคลื่อนไหวของมนุษย์ 70% มาจากน้ำตาลถ้าขาดน้ำตาลมนุษย์ก็จะไม่สามารถดำรงอยู่ได้ จะเห็นได้ว่าน้ำตาลมีความสำคัญต่อชีวิตมาก
น้ำตาลมีอยู่ 3 ชนิดใหญ่ๆ คือ
ชนิดที่หนึ่ง Monosaccharide ได้แก่ กลูโคส (Glucose) ฟรุคโตส (Fructose), Glalactose
ชนิดที่สอง Disaccharide ได้แก่ ซูโครส (Sucrose) มัลโตส (Maltose) แลคโตส (Lactose)
ชนิดที่สาม Polysaccharide ได้แก่ แป้ง (Starch) , Cellulose Glycogen เป็นต้น
เมื่อพูดถึงน้ำตาล ใครๆ ก็ต้องรู้ว่ามีรสหวาน แต่ความจริงแล้วไม่ใช่น้ำตาลทุกชนิดจะมีรสหวาน
เช่น แลคโตส (Lactose) ซึ่งมีอยู่ในน้ำนมคนหรือวัว ถ้าเราดื่มนมจะไม่รู้สึกหวาน แม้เราจะกินแลคโตสเพียงอย่างเดียว ความหวานก็มีอยู่อย่างจำกัด แม้แลคโตสจะไม่มีรสหวาน แต่ก็เป็นอาหารจำเป็นสำหรับการเจริญเติบโตของทารก
แลคโตสจะทำหน้าที่ป้องกันจุลินทรีย์ที่จำเป็นในลำไส้ของทารก และยังช่วยการดูดซึมของแคลเซียม ทำให้ทารกสามารถย่อยและดูดซึมได้ แต่ถ้าผู้ใหญ่กินกลับจะทำให้ย่อยยากและทำให้ท้องเสีย
นอกจากนี้แป้งซึ่งเป็นอาหารที่สำคัญของมนุษย์ ประกอบด้วยอนุภาคกลูโคส 6,500 หน่วย ถ้าไม่มีการสลายตัวจะไม่มีรสหวาน แต่เป็นแหล่งสำคัญของน้ำตาลที่ร่างกายได้รับในแต่ละวัน
เวลาที่เรากินขนมปังแป้ง จะคลุกเคล้ากับเอนไซม์ในน้ำลาย เกิดการสลายตัวทำให้เกิดรสหวาน คือ มัลโตส (Maltose) ขึ้น ในวันหนึ่งๆ ร่างกายต้องการน้ำตาลจากอาหารประมาณ 100-400 กรัม ซึ่งส่วนใหญ่ได้มาจากแป้ง น้ำตาลต่างๆ ที่เข้าในร่างกาไม่ใช่ว่าจะได้รับการดูดซึมแล้วนำไปใช้โดยตรง นอกจากลูโคสแล้ว ไม่ว่าจะเป็นน้ำตาลชนิดใดจะต้องถูกออกซิไดซ์ให้เป็นกลุโคสก่อนจึงจะเปลี่ยนเป็นพลังงานเพื่อให้ร่างกายใช้
เนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ ในร่างกายต้องการกลูโคสเพื่อเป็นวัตถุในการให้พลังงานและสารประกอบที่สำคัญอื่นๆ มีอวัยวะบางส่วน เช่น สมองในวันหนึ่งๆ ต้องการกลูโคส 110-130 กรัม การที่หัวใจทำงานได้ก็ต้องอาศัยกลูโคสมาทดแทนพลังงานที่สูญเสียไป ผลการทดลองหัวใจสัตว์นอกร่างกาย พบว่ากลูโคสมีฤทธิ์กระตุ้นหัวใจของสัตว์ที่ทดลอง นอกจากนี้ไตและเม็ดเลือดแดงก็ต้องการกลูโคสมาเป็นอาหาร อวัยวะภายในอื่นๆ ถ้าขาดกลูโคสก็สามารถใช้กรดไขมัน (Fatty acid) มาเป็นแหล่งพลังงานได้
กลูโคสนอกจากเป็นแหล่งอาหารที่จำเป็นของเซลล์ เนื้อเยื่อ และอวัยวะภายในแล้ว ยังทำให้กัยโคเจน (Glycogen) ในตับเพิ่มขึ้น ทำให้การเผาผลาญ (Metabolism) ของเนื้อเยื่อดีขึ้น ขณะที่น้ำตาลในเลือดลดน้อยลง กลูโคสจะเป็นสารที่กระตุ้นการทำงานของหัวใจได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้กลูโคสยังสามารถทำให้ร่างกายมีความต้านทานต่อโรคติดต่อได้ด้วย ดังนั้นในการรักษาโรคกลูโคสจึงถูกใช้เป็นยารักษาโรคได้อย่างกว้างขวาง
น้ำตาลที่กินเป็นประจำมีน้ำตาลทรายแดง น้ำตาลทรายขาว น้ำตาลกรวด ซึ่งทำมาจากอ้อยหรือพืชผักที่มีรสหวานอย่างอื่น น้ำตาลทรายแดงมักมีสีน้ำตาลเพราะมีสาร Molasses, Chlorophyll, Xanthophyll, Carotene และเหล็ก เป็นต้น สำหรับน้ำตาลทรายขาวนั้นได้ผ่านกระบวนการฟอกทางเคมี และแยกสิ่งสกปรกที่เจือปนอยู่ออก ทำให้มีสีขาวและบริสุทธิ์กว่า แต่ถ้าพูดถึงในแง่คุณค่าทางโภชนาการแล้วจะมีคุณค่าน้อยกว่าน้ำตาลทรายแดง ทั้งนี้เพราะสารบางอย่างจะลดน้อยลง
เช่น ในน้ำตาลทรายแดง 1 มก. จะมีแคลเซียม 450 มก. ซึ่งมากเป็น 3 เท่าของน้ำตาลทรายขาว มีเหล็ก 20 มก. มากกว่าน้ำตาลทรายขาว 2 เท่า นอกจากนี้ยังมีสารอื่นๆ มากกว่าน้ำตาลทรายขาว ในน้ำตาลทรายหรือน้ำผึ้ง ฟรุคโตส (Fructose) มีรสหวานที่สุด นอกจากนี้ในผลไม้อื่นๆ ก็มีฟลุคโตสเป็นจำนวนมาก
ในการย่อยและการเผาผลาญในร่างกาย ฟลุคโตสไม่ต้องใช้อินซูลิน ดังนั้นฟลุคโตสจึงเหมาะสำหรับผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวาน และแบคทีเรียในปากจะไม่หมัก (Ferment) กับฟลุคโตส จึงเหมาะสำหรับเป็นอาหารของคนที่ฟังผุ
ประโยชน์ของน้ำตาล
น้ำตาลทรายแดง มีคุณสมบัติร้อน รสหวาน มีสรรพคุณบำรุงพลัง แก้ปวด ทำให้เลือดไหลเวียนสะดวก สตรีในระหว่างมีประจำเดือนถูกความเย็น มีอาการปวดประจำเดือน ปวดเอวหรือท้องน้อย หรือประจำเดือนเป็นลิ่ม ให้ดื่มน้ำผสมน้ำตาลทรายแดงอุ่นๆ สักแก้ว จะทำให้สบายขึ้น
น้ำตาลทรายขาว และน้ำตาลทรายกรวด มีสรรพคุณดับร้อน ถอนพิษ แก้อักเสบ มีอาการเจ็บคอ ปากเป็นแผล ไอมีเสมหะเหลือง นอกจากนี้ น้ำเชื่อม (จากน้ำตาลทรายขาว) ยังใช้รักษาบาดแผลเน่าเปื่อยได้ ทั้งนี้เพราะน้ำเชื่อมสามารถเปลี่ยนสภาพกรดและด่างบริเวณปากแผล ทำให้เซลล์ผิวหนังกระตุ้น การไหลเวียนของโลหิตจะดีขึ้น และยังเป็นอาหารที่ถูกนำไปหล่อเลี้ยงผิวหนังบริเวณนั้นด้วย ทำให้เชื้อโรคไม่สามารถเจริญเติบโตได้ บาดแผลก็จะหายเร็วขึ้น
การกินน้ำตาลทรายมากเกินไปจะให้โทษ เช่น ทำให้อ้วน ทำให้หลอดเลือดหัวใจตีบ การย่อยอาหารไม่ดี กรดในกระเพาะอาหารมากเกินไป เป็นโรคเบาหวาน และทำให้ฟันผุ ฯลฯ สำหรับสาเหตุของโรคเบาหวานนั้น มีบารายที่เกี่ยวข้องกับการกินน้ำตาลทรายมากเกินไป ทั้งนี้เพราะการกินน้ำตาลทรายมากเกินจะทำให้ต้องใช้อินซูลินมากเกินไป ถ้ากินระยะนานก็สามารถทำให้เกิดโรคเบาหวานได้
การกินน้ำตาลทรายจะทำให้เบื่ออาหาร เพราะการกินน้ำตาลทรายมากจะทำให้วิตามินบีในร่างกายถูกใช้ไปมาก เมื่อปริมาณของวิตามินบีลดน้อยลง ก็จะทำให้กินอาหารน้อยลง น้ำลายและน้ำย่อยลดน้อยลง ทำให้เบื่ออาหารมากขึ้น
ขณะเดียวกัน การที่มีน้ำตาลอยู่ในกระเพาะอาหารมาก ทำให้สภาพกรดในกระเพาะอาหารและลำไส้เพิ่มมากขึ้น กรดมากกว่าปกติ เกิดการหมัก (Fermentation) ในลำไส้ทำให้ไม่สบายท้อง มีผู้เชื่อว่าการกินน้ำตาลมากเกินไป จะมีผลต่อการเผาผลาญ (Metabolism) แคลเซี่ยม ถ้าปริมาณน้ำตาลสูง 16-18% ของอาหารที่กิน จะทำให้การเผาผลาญของแคลเซียมในร่างกายเกิดความสับสน
ผลจากการวิจัยพบว่าโรคฟันผุ มีส่วนเกี่ยวข้องกบการกินน้ำตาล เมื่อกินน้ำตาลจะทำให้สภาพของกรดในปากเพิ่มขึ้น สำหรับผู้ที่มีอายุมาก จะรู้สึกว่ามีรสเปรี้ยว Bacillus acidi lactici เป็นแบคทีเรียที่ชอบอาศัยและเจริญเติบโตที่บริเวณแอ่ง ร่องฟัน หรือซอกฟันที่มีสภาพเป็นกรด ทำให้แคลเซียมในฟันหลุดและเกิดฟันผุได้ หรือที่เรียกว่าแมงกินฟันนั่นเอง
แม้จะไม่มีน้ำตาล ร่างกายของคนเราก็ได้รับอาหารเพียงพอแล้ว ทั้งนี้เพราะอาหารที่เรากินนั้นมีปริมาณเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย ปริมาณของน้ำตาลที่ร่างกาย ต้องการในวันหนึ่งๆ ไม่ควรเกิน 50 กรัม (หมายถึงกินติดต่อกันนานๆ ) มีผู้ใหญ่บางคนรักเด็กมาก มักซื้อลูกกวาดให้เด็กกินเป็นประจำ จะทำให้เด็กกินอาหารน้อยลง ขาดธาตุอาหาร ทำให้ฟันเสีย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การอมลูกกวาดก่อนนอนจะทำให้ฟันผุ จึงควรระวัง
น้ำตาล ผลิตได้จากพืชหลายอย่าง เช่น อ้อย หัวบีท มะพร้าว ตาล เมเปิ้ล เป็นต้น สำหรับ "น้ำตาลทรายแดง" เป็นผลผลิตจากอ้อย แต่ไม่ได้ผ่านการฟอกสีอย่างสมบูรณ์ ไม่มีสารฟอกสีปนเปื้อนเหมือนน้ำตาลทรายขาว ทั้งยังมีการปนของสารธรรมชาติจากอ้อยอยู่บ้าง น้ำตาลทรายแดงมีความชื้นมาก มีกลิ่นน้ำตาลไหม้ และมีกากน้ำตาลติดอยู่ จึงเป็นสีน้ำตาลคล้ำ
คุณค่าทางโภชนาการในน้ำตาลทรายแดง 1 กิโลกรัม ประกอบด้วยแคลเซียม 450 มิลลิกรัม ซึ่งมากเป็น 3 เท่าของน้ำตาลทรายขาว มีธาตุเหล็ก 20 มิลลิกรัม มากเป็น 2 เท่าของน้ำตาลทรายขาว นอกจากนี้ยังมีสารอื่นๆ มากกว่าน้ำตาลทรายขาว
ความแตกต่างระหว่างน้ำตาลทรายแดงกับน้ำตาลทรายขาวอยู่ที่ขั้นตอนและวิธีการผลิต น้ำตาลทรายแดงเป็นน้ำตาลที่ผลิตมาแต่ดั้งเดิมด้วยระบบ Open Pan (ไม่มีการตกผลึก) ส่วนน้ำตาลทรายขาวผลิตภายใต้ระบบสุญญากาศหรือ Vacuum Pan (ตกผลึก) น้ำตาลทรายแดงนิยมใช้ในอาหารบางประเภทเท่านั้น เนื่องจากสี กลิ่น รส เหมาะกับอาหารบางชนิดเท่านั้น ในอุตสาหกรรมอาหารจึงนิยมใช้น้ำตาลทรายขาวมากกว่าน้ำตาลทรายแดง
กรรมวิธีการผลิตน้ำตาลทรายแดง เริ่มจากรุ่นโบราณ เมื่อตัดอ้อยแล้วนำเข้าโรงหีบ ใช้หินทับกัน 2 ก้อน ใช้แรงวัว-ควายเดินหมุนไปรอบๆ บีบน้ำอ้อยออกมา ต่อมาเข้ายุคอุตสาหกรรม โรงงานเปลี่ยนไปใช้เครื่องมือเป็นลูกหีบเหล็กขนาดเล็กจำนวน 1-2 ชุด ชนิด 2-3 ลูกกลิ้ง โดยใช้มอเตอร์ฉุดให้ลูกกลิ้งหมุนบีบน้ำอ้อยออกมา นำน้ำอ้อยไปผสมกับปูนขาวแล้วกรองเอาน้ำอ้อยใสไปเคี่ยวในกระทะเหล็กเปิด (Open pan) ที่ตั้งบนเตาต้มเคี่ยวเป็นระยะๆ ในกระทะต่อไปตามลำดับจนถึงกระทะที่ 4 ข้นได้ที่แล้วก็เทออกผึ่ง ละเลงในกระบะไม้ให้แห้ง แล้วใช้ค้อนไม้บดให้เป็นเม็ดหยาบๆ
ประเทศไทยผลิตน้ำตาลจากอ้อยปีละประมาณ 5-7 ล้านตัน โดยใช้สำหรับการบริโภคในประเทศร้อยละ 30-35 ส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 65-70 ส่งเป็นสินค้าออก ประเภทของน้ำตาลทรายที่ผลิตในประเทศแบ่งออกเป็น 1.น้ำตาลทรายแดง ทำให้เป็นน้ำตาลด้วยวิธีไม่ตกผลึก 2.น้ำตาลทรายดิบ ลักษณะเป็นผลึก 3.น้ำตาลทรายขาว ลักษณะเป็นผลึกขาวใส
สรรพคุณ น้ำตาลทรายแดงมีคุณสมบัติร้อน บำรุงกำลัง แก้ปวด ทำให้เลือดไหลเวียนสะดวก สตรีระหว่างมีประจำเดือน ปวดเอวหรือท้องน้อย ดื่มน้ำผสมน้ำตาลทรายแดงอุ่นสักแก้ว จะทำให้สบายขึ้น ไทยส่งน้ำตาลทรายแดงไปขายมาเลเซีย สิงคโปร์ ฮ่องกง ซึ่งนอกจากใช้บริโภค ยังใช้ผสมในยาต่างๆ
คุณค่าทางโภชนาการในน้ำตาลทรายแดง 1 กิโลกรัม ประกอบด้วยแคลเซียม 450 มิลลิกรัม ซึ่งมากเป็น 3 เท่าของน้ำตาลทรายขาว มีธาตุเหล็ก 20 มิลลิกรัม มากเป็น 2 เท่าของน้ำตาลทรายขาว นอกจากนี้ยังมีสารอื่นๆ มากกว่าน้ำตาลทรายขาว
ความแตกต่างระหว่างน้ำตาลทรายแดงกับน้ำตาลทรายขาวอยู่ที่ขั้นตอนและวิธีการผลิต น้ำตาลทรายแดงเป็นน้ำตาลที่ผลิตมาแต่ดั้งเดิมด้วยระบบ Open Pan (ไม่มีการตกผลึก) ส่วนน้ำตาลทรายขาวผลิตภายใต้ระบบสุญญากาศหรือ Vacuum Pan (ตกผลึก) น้ำตาลทรายแดงนิยมใช้ในอาหารบางประเภทเท่านั้น เนื่องจากสี กลิ่น รส เหมาะกับอาหารบางชนิดเท่านั้น ในอุตสาหกรรมอาหารจึงนิยมใช้น้ำตาลทรายขาวมากกว่าน้ำตาลทรายแดง
กรรมวิธีการผลิตน้ำตาลทรายแดง เริ่มจากรุ่นโบราณ เมื่อตัดอ้อยแล้วนำเข้าโรงหีบ ใช้หินทับกัน 2 ก้อน ใช้แรงวัว-ควายเดินหมุนไปรอบๆ บีบน้ำอ้อยออกมา ต่อมาเข้ายุคอุตสาหกรรม โรงงานเปลี่ยนไปใช้เครื่องมือเป็นลูกหีบเหล็กขนาดเล็กจำนวน 1-2 ชุด ชนิด 2-3 ลูกกลิ้ง โดยใช้มอเตอร์ฉุดให้ลูกกลิ้งหมุนบีบน้ำอ้อยออกมา นำน้ำอ้อยไปผสมกับปูนขาวแล้วกรองเอาน้ำอ้อยใสไปเคี่ยวในกระทะเหล็กเปิด (Open pan) ที่ตั้งบนเตาต้มเคี่ยวเป็นระยะๆ ในกระทะต่อไปตามลำดับจนถึงกระทะที่ 4 ข้นได้ที่แล้วก็เทออกผึ่ง ละเลงในกระบะไม้ให้แห้ง แล้วใช้ค้อนไม้บดให้เป็นเม็ดหยาบๆ
ประเทศไทยผลิตน้ำตาลจากอ้อยปีละประมาณ 5-7 ล้านตัน โดยใช้สำหรับการบริโภคในประเทศร้อยละ 30-35 ส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 65-70 ส่งเป็นสินค้าออก ประเภทของน้ำตาลทรายที่ผลิตในประเทศแบ่งออกเป็น 1.น้ำตาลทรายแดง ทำให้เป็นน้ำตาลด้วยวิธีไม่ตกผลึก 2.น้ำตาลทรายดิบ ลักษณะเป็นผลึก 3.น้ำตาลทรายขาว ลักษณะเป็นผลึกขาวใส
สรรพคุณ น้ำตาลทรายแดงมีคุณสมบัติร้อน บำรุงกำลัง แก้ปวด ทำให้เลือดไหลเวียนสะดวก สตรีระหว่างมีประจำเดือน ปวดเอวหรือท้องน้อย ดื่มน้ำผสมน้ำตาลทรายแดงอุ่นสักแก้ว จะทำให้สบายขึ้น ไทยส่งน้ำตาลทรายแดงไปขายมาเลเซีย สิงคโปร์ ฮ่องกง ซึ่งนอกจากใช้บริโภค ยังใช้ผสมในยาต่างๆ
น้ำตาล ผลิตได้จากพืชหลายอย่าง เช่น อ้อย หัวบีท มะพร้าว ตาล เมเปิ้ล เป็นต้น สำหรับ "น้ำตาลทรายแดง" เป็นผลผลิตจากอ้อย แต่ไม่ได้ผ่านการฟอกสีอย่างสมบูรณ์ ไม่มีสารฟอกสีปนเปื้อนเหมือนน้ำตาลทรายขาว ทั้งยังมีการปนของสารธรรมชาติจากอ้อยอยู่บ้าง น้ำตาลทรายแดงมีความชื้นมาก มีกลิ่นน้ำตาลไหม้ และมีกากน้ำตาลติดอยู่ จึงเป็นสีน้ำตาลคล้ำ
คุณค่าทางโภชนาการในน้ำตาลทรายแดง 1 กิโลกรัม ประกอบด้วยแคลเซียม 450 มิลลิกรัม ซึ่งมากเป็น 3 เท่าของน้ำตาลทรายขาว มีธาตุเหล็ก 20 มิลลิกรัม มากเป็น 2 เท่าของน้ำตาลทรายขาว นอกจากนี้ยังมีสารอื่นๆ มากกว่าน้ำตาลทรายขาว
ความแตกต่างระหว่างน้ำตาลทรายแดงกับน้ำตาลทรายขาวอยู่ที่ขั้นตอนและวิธีการผลิต น้ำตาลทรายแดงเป็นน้ำตาลที่ผลิตมาแต่ดั้งเดิมด้วยระบบ Open Pan (ไม่มีการตกผลึก) ส่วนน้ำตาลทรายขาวผลิตภายใต้ระบบสุญญากาศหรือ Vacuum Pan (ตกผลึก) น้ำตาลทรายแดงนิยมใช้ในอาหารบางประเภทเท่านั้น เนื่องจากสี กลิ่น รส เหมาะกับอาหารบางชนิดเท่านั้น ในอุตสาหกรรมอาหารจึงนิยมใช้น้ำตาลทรายขาวมากกว่าน้ำตาลทรายแดง
กรรมวิธีการผลิตน้ำตาลทรายแดง เริ่มจากรุ่นโบราณ เมื่อตัดอ้อยแล้วนำเข้าโรงหีบ ใช้หินทับกัน 2 ก้อน ใช้แรงวัว-ควายเดินหมุนไปรอบๆ บีบน้ำอ้อยออกมา ต่อมาเข้ายุคอุตสาหกรรม โรงงานเปลี่ยนไปใช้เครื่องมือเป็นลูกหีบเหล็กขนาดเล็กจำนวน 1-2 ชุด ชนิด 2-3 ลูกกลิ้ง โดยใช้มอเตอร์ฉุดให้ลูกกลิ้งหมุนบีบน้ำอ้อยออกมา นำน้ำอ้อยไปผสมกับปูนขาวแล้วกรองเอาน้ำอ้อยใสไปเคี่ยวในกระทะเหล็กเปิด (Open pan) ที่ตั้งบนเตาต้มเคี่ยวเป็นระยะๆ ในกระทะต่อไปตามลำดับจนถึงกระทะที่ 4 ข้นได้ที่แล้วก็เทออกผึ่ง ละเลงในกระบะไม้ให้แห้ง แล้วใช้ค้อนไม้บดให้เป็นเม็ดหยาบๆ
ประเทศไทยผลิตน้ำตาลจากอ้อยปีละประมาณ 5-7 ล้านตัน โดยใช้สำหรับการบริโภคในประเทศร้อยละ 30-35 ส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 65-70 ส่งเป็นสินค้าออก ประเภทของน้ำตาลทรายที่ผลิตในประเทศแบ่งออกเป็น 1.น้ำตาลทรายแดง ทำให้เป็นน้ำตาลด้วยวิธีไม่ตกผลึก 2.น้ำตาลทรายดิบ ลักษณะเป็นผลึก 3.น้ำตาลทรายขาว ลักษณะเป็นผลึกขาวใส
สรรพคุณ น้ำตาลทรายแดงมีคุณสมบัติร้อน บำรุงกำลัง แก้ปวด ทำให้เลือดไหลเวียนสะดวก สตรีระหว่างมีประจำเดือน ปวดเอวหรือท้องน้อย ดื่มน้ำผสมน้ำตาลทรายแดงอุ่นสักแก้ว จะทำให้สบายขึ้น ไทยส่งน้ำตาลทรายแดงไปขายมาเลเซีย สิงคโปร์ ฮ่องกง ซึ่งนอกจากใช้บริโภค ยังใช้ผสมในยาต่างๆ
คุณค่าทางโภชนาการในน้ำตาลทรายแดง 1 กิโลกรัม ประกอบด้วยแคลเซียม 450 มิลลิกรัม ซึ่งมากเป็น 3 เท่าของน้ำตาลทรายขาว มีธาตุเหล็ก 20 มิลลิกรัม มากเป็น 2 เท่าของน้ำตาลทรายขาว นอกจากนี้ยังมีสารอื่นๆ มากกว่าน้ำตาลทรายขาว
ความแตกต่างระหว่างน้ำตาลทรายแดงกับน้ำตาลทรายขาวอยู่ที่ขั้นตอนและวิธีการผลิต น้ำตาลทรายแดงเป็นน้ำตาลที่ผลิตมาแต่ดั้งเดิมด้วยระบบ Open Pan (ไม่มีการตกผลึก) ส่วนน้ำตาลทรายขาวผลิตภายใต้ระบบสุญญากาศหรือ Vacuum Pan (ตกผลึก) น้ำตาลทรายแดงนิยมใช้ในอาหารบางประเภทเท่านั้น เนื่องจากสี กลิ่น รส เหมาะกับอาหารบางชนิดเท่านั้น ในอุตสาหกรรมอาหารจึงนิยมใช้น้ำตาลทรายขาวมากกว่าน้ำตาลทรายแดง
กรรมวิธีการผลิตน้ำตาลทรายแดง เริ่มจากรุ่นโบราณ เมื่อตัดอ้อยแล้วนำเข้าโรงหีบ ใช้หินทับกัน 2 ก้อน ใช้แรงวัว-ควายเดินหมุนไปรอบๆ บีบน้ำอ้อยออกมา ต่อมาเข้ายุคอุตสาหกรรม โรงงานเปลี่ยนไปใช้เครื่องมือเป็นลูกหีบเหล็กขนาดเล็กจำนวน 1-2 ชุด ชนิด 2-3 ลูกกลิ้ง โดยใช้มอเตอร์ฉุดให้ลูกกลิ้งหมุนบีบน้ำอ้อยออกมา นำน้ำอ้อยไปผสมกับปูนขาวแล้วกรองเอาน้ำอ้อยใสไปเคี่ยวในกระทะเหล็กเปิด (Open pan) ที่ตั้งบนเตาต้มเคี่ยวเป็นระยะๆ ในกระทะต่อไปตามลำดับจนถึงกระทะที่ 4 ข้นได้ที่แล้วก็เทออกผึ่ง ละเลงในกระบะไม้ให้แห้ง แล้วใช้ค้อนไม้บดให้เป็นเม็ดหยาบๆ
ประเทศไทยผลิตน้ำตาลจากอ้อยปีละประมาณ 5-7 ล้านตัน โดยใช้สำหรับการบริโภคในประเทศร้อยละ 30-35 ส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 65-70 ส่งเป็นสินค้าออก ประเภทของน้ำตาลทรายที่ผลิตในประเทศแบ่งออกเป็น 1.น้ำตาลทรายแดง ทำให้เป็นน้ำตาลด้วยวิธีไม่ตกผลึก 2.น้ำตาลทรายดิบ ลักษณะเป็นผลึก 3.น้ำตาลทรายขาว ลักษณะเป็นผลึกขาวใส
สรรพคุณ น้ำตาลทรายแดงมีคุณสมบัติร้อน บำรุงกำลัง แก้ปวด ทำให้เลือดไหลเวียนสะดวก สตรีระหว่างมีประจำเดือน ปวดเอวหรือท้องน้อย ดื่มน้ำผสมน้ำตาลทรายแดงอุ่นสักแก้ว จะทำให้สบายขึ้น ไทยส่งน้ำตาลทรายแดงไปขายมาเลเซีย สิงคโปร์ ฮ่องกง ซึ่งนอกจากใช้บริโภค ยังใช้ผสมในยาต่างๆ
วิธีทำดอกเก็กฮวยแห้ง
การทำดอกเก็กฮวยแห้ง ทำได้ง่ายไม่ยุ่งยากคือ เก็บดอกสดมาล้างน้ำเอาเศษดินและสิ่งสกปรกออก และเด็ดใบออกนำดอกที่ล้างแล้วใส่ในกระทะหรือหม้อ คั่วด้วยไฟอ่อนๆ จนมีสีเหลือเล็กน้อย จึงพรมเหล้าขาว และน้ำลงไป จากนั้นจึงนำไปตากแดดให้แห้ง เก็บไว้ในภาชนะแห้งสะอาดปิดให้มิดชิด ป้องกันแมลงและเชื้อรา
วิธีเตรียมน้ำเก็กฮวย
นำดอกเก็กฮวยแห้งมาล้างน้ำ ใส่ลงไปในหม้อต้มกับน้ำในปริมาณที่เหมาะสม เคี่ยวไฟอ่อนๆ 5 นาที เติมน้ำตาล ชิมรสหวานตามชอบ จะได้น้ำเก็กฮวยสีเหลืองอ่อนรสหวาน ดื่มได้ทั้งขณะร้อน หรือแช่เย็น ถ้าต้องการให้น้ำเก็กฮวยมีสีเหลืองน่าดื่มมากขึ้น อาจใส่ลูกพุดจีน นำไปต้น เมล็ดพุดจีนจะทำให้น้ำเก็กฮวยมีสีเหลืองเข้มขึ้น
สารเคมีที่สำคัญในดอกเก็กฮวย
เก็กฮวย จะประกอบด้วยสารเคมีสำคัญเช่น น้ำมันหอมระเหยะ Adenline Choine Stachydrine ซึ่งจะให้รสหวานขม มีฤทธิ์เป็นยาถอนพิษ ดับร้อน รักษาอาการปวดศีรษา เวียนศีรษะ ตาแดง แน่นหน้าอก อึดอัด ฝี หนอง
สรรพคุณทางยาของดอกเก็กฮวย
ดอกเก็กฮวยนอกจาก จะใช้แก้กระหายแล้ว ยังใช้เป็นยารักษาโรคต่างๆ ได้อีกด้วย เช่น อาการปวดเนื่องจาก เส้นเลือดหัวใจตีบตัน (Coronary heart disease) โดยใช้ดอกเก็กฮวย 300 กรัม แช่น้ำอุ่นทิ้งไว้ 1 คืน แล้วนำมาต้ม 2 ครั้ง ครั้งละครึ่งชั่วโมง ทิ้งให้ตกตะกอน แล้วเอาน้ำเก็กฮวยที่ได้ทั้งสองครั้งมาเคี่ยวรวมกันจนได้ปริมาณ 500 มิลลิลิตร ใช้ดื่มวันละ 2 ครั้ง ครั้งละ 25 มิลลิลิตร ดื่มติดต่อกัน 2 เดือน ซึ่งแพทย์จีนเคยนำมารักษากับผู้ป่วยโรคหัวใจแล้วได้ผลประมาณ 80% และยังทำให้ความดันเลือดลงลงอีกด้วย
ดอกเก็กฮวย ยังมีสรรพคุณอื่นๆ อีกเช่น แก้โรคโกโนเรีย ปวดศีรษะ เป็นยาเจริญอาหารช่วยระบบย่อย และการขับถ่ายในร่างกายให้ดีขึ้น เป็นยาขับลมในลำไส้ บำรุงประสาท และสายตา แก้โรคนิ่ว โรคเกี่ยวกับต่อมน้ำเหลือง วัณโรค ใบและลำต้น ใช้เป็นยาทาภายนอกแก้แผลน้ำร้อนลวก และโรคผิวหนัง แก้อาการช้ำบวม เป็นต้น
การทำดอกเก็กฮวยแห้ง ทำได้ง่ายไม่ยุ่งยากคือ เก็บดอกสดมาล้างน้ำเอาเศษดินและสิ่งสกปรกออก และเด็ดใบออกนำดอกที่ล้างแล้วใส่ในกระทะหรือหม้อ คั่วด้วยไฟอ่อนๆ จนมีสีเหลือเล็กน้อย จึงพรมเหล้าขาว และน้ำลงไป จากนั้นจึงนำไปตากแดดให้แห้ง เก็บไว้ในภาชนะแห้งสะอาดปิดให้มิดชิด ป้องกันแมลงและเชื้อรา
วิธีเตรียมน้ำเก็กฮวย
นำดอกเก็กฮวยแห้งมาล้างน้ำ ใส่ลงไปในหม้อต้มกับน้ำในปริมาณที่เหมาะสม เคี่ยวไฟอ่อนๆ 5 นาที เติมน้ำตาล ชิมรสหวานตามชอบ จะได้น้ำเก็กฮวยสีเหลืองอ่อนรสหวาน ดื่มได้ทั้งขณะร้อน หรือแช่เย็น ถ้าต้องการให้น้ำเก็กฮวยมีสีเหลืองน่าดื่มมากขึ้น อาจใส่ลูกพุดจีน นำไปต้น เมล็ดพุดจีนจะทำให้น้ำเก็กฮวยมีสีเหลืองเข้มขึ้น
สารเคมีที่สำคัญในดอกเก็กฮวย
เก็กฮวย จะประกอบด้วยสารเคมีสำคัญเช่น น้ำมันหอมระเหยะ Adenline Choine Stachydrine ซึ่งจะให้รสหวานขม มีฤทธิ์เป็นยาถอนพิษ ดับร้อน รักษาอาการปวดศีรษา เวียนศีรษะ ตาแดง แน่นหน้าอก อึดอัด ฝี หนอง
สรรพคุณทางยาของดอกเก็กฮวย
ดอกเก็กฮวยนอกจาก จะใช้แก้กระหายแล้ว ยังใช้เป็นยารักษาโรคต่างๆ ได้อีกด้วย เช่น อาการปวดเนื่องจาก เส้นเลือดหัวใจตีบตัน (Coronary heart disease) โดยใช้ดอกเก็กฮวย 300 กรัม แช่น้ำอุ่นทิ้งไว้ 1 คืน แล้วนำมาต้ม 2 ครั้ง ครั้งละครึ่งชั่วโมง ทิ้งให้ตกตะกอน แล้วเอาน้ำเก็กฮวยที่ได้ทั้งสองครั้งมาเคี่ยวรวมกันจนได้ปริมาณ 500 มิลลิลิตร ใช้ดื่มวันละ 2 ครั้ง ครั้งละ 25 มิลลิลิตร ดื่มติดต่อกัน 2 เดือน ซึ่งแพทย์จีนเคยนำมารักษากับผู้ป่วยโรคหัวใจแล้วได้ผลประมาณ 80% และยังทำให้ความดันเลือดลงลงอีกด้วย
ดอกเก็กฮวย ยังมีสรรพคุณอื่นๆ อีกเช่น แก้โรคโกโนเรีย ปวดศีรษะ เป็นยาเจริญอาหารช่วยระบบย่อย และการขับถ่ายในร่างกายให้ดีขึ้น เป็นยาขับลมในลำไส้ บำรุงประสาท และสายตา แก้โรคนิ่ว โรคเกี่ยวกับต่อมน้ำเหลือง วัณโรค ใบและลำต้น ใช้เป็นยาทาภายนอกแก้แผลน้ำร้อนลวก และโรคผิวหนัง แก้อาการช้ำบวม เป็นต้น